ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปากและให้คำแนะนำ ทันตสุขภาพ
87
ร้อยละ
ปีละ 2 ครั้ง
เกศรินทร์ พรมรักษ์
2
ผู้ปกครองเด็กอายุ 9-12 เดือน ได้รับการฝึกแปรงฟันให้เด็ก
82
ร้อยละ
ปีละ 2 ครั้ง
เกศรินทร์ พรมรักษ์
3
เด็ก 6 เดือน – 2 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนทุกวัน
75
ร้อยละ
ปีละ 2 ครั้ง
เกศรินทร์ พรมรักษ์
4
เด็กอายุ 3 ปีปราศจากฟันผุ
40
ร้อยละ
ปีละ 2 ครั้ง
เกศรินทร์ พรมรักษ์
5
(ศูนย์พัฒนาเด็กล็ก) ศพด.จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันด้วยยาสีฟัน ผสมฟลูออไรด์
50
ร้อยละ
ปีละ 2 ครั้ง
เกศรินทร์ พรมรักษ์
6
(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)ศพด. จัดผลไม้เป็นอาหารว่างให้เด็ก 3-5 วัน/สัปดาห
82
ร้อยละ
ปีละ 4 ครั้ง
เกศรินทร์ พรมรักษ์
7
เด็กอายุ 12 ปี ปราศจากโรคฟันผ ุ(ฟันแท้)
40
ร้อยละ
ปีละ 1ครั้ง
นางพัชนีย์ เลื่อลา
8
โรงเรียนทุกสังกัดมีนโยบาย "โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม"
83
ร้อยละ
ทุก 2 เดือน
นางพัชนีย์ เลื่อลา
9
โรงเรียนประถมศึกษาจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด
80
ร้อยละ
ปีละ 6 ครั้ง
นางพัชนีย์ เลื่อลา
10

โรงเรียนทุกสังกัดมีหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรสุขศึกษาพลศึกษาและการจัด
ตั้งชมรมเกี่ยวกับด้านสุขภาพ

40
ร้อยละ

ปีละ 2 ครั้ง

นางพัชนีย์ เลื่อลา
11
มีการตรวจสุขภาพช่องปากในเด็ก ป.1และ ป.3
80
ร้อยละ
ปีละ 1 ครั้ง
นางพัชนีย์ เลื่อลา
12
การเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 ของเด็ก ป.1
40
ร้อยละ
ปีละ 2 ครั้ง
นางพัชนีย์ เลื่อลา
13
ผู้สูงอายุมีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม (4 คู่สบ)
50
ร้อยละ
ทุก 6 เดือน
จันทนา ปัญญาวงศ์
14
ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่
35
ร้อยละ
ทุก 6 เดือน
จันทนา ปัญญาวงศ์
15
ผู้สูงอายุมีการแปรงฟันก่อนนอน
75
ร้อยละ
ทุก 6 เดือน
จันทนา ปัญญาวงศ์
 
               
               
:: Copyright ©2010 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน เบอร์โทรศัพท์ 054-693548 โทรสาร 054-693549 ::